ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire Alarm System)

ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ Fire Alarm Systems
          ระบบป้องกันอัคีภัย ระบบแจ้งเตือนเหตุเพลิงไหม้ คือระบบที่สามารถตรวจจับการเกิดเหตุเพลิงไหม้ และแจ้งให้ผู้ที่อยู่ในอาคารทราบ โดยอัตโนมัติ ระบบที่ดีจะต้องตรวจจับและแจ้งเหตุได้อย่างถูดต้องและรวดเร็ว และมีความเชื่อถือได้สูง เพื่อให้ผู้ที่อยู่ถายในอาคารมีโอกาสกับไฟในระยะลุกไหม้ได้มากขึ้น และมีโอกาสที่จะอพยพและหลบหนีออกจากอาคารไปยังสถานที่ปลอดภัยได่มากที่สุด ซึ่งจะเป็นผลให้ลดความสูญเสีย ต่อชีวิตและทรัพย์สินได้มาก การเกิดอัคคีภัยก่อนให้เกิดความสูยเสีย ทั้งชีวิตและทรัพย์สินสาเหตุส่วนใหญามาจากใน ขณะที่เริ่มเกิดเหตุเพลิงไหม้ ตะไม่มีคนอยู่ในบริเวณพื้นที่ที่เกิดเหตุ หรือเกิดในบริเวณที่คนมองไม่เห็น ได้ ซึ่งกว่าเจ้าของสถานที่จะมาเห็นก็ไหม้ลุกลามจนเกินกำลังที่จะสามารถดับเพลิงไว้ได หรืออุปกรณ์ถังดับเพลงที่มีขนาดเล็กที่มีอยู่ภายใต้สถานที่จะใช้ทำการสกัดกั้นหรือดับเพลิงไหม้ได้ ดังนั้นอาคารสถานที่ต่างๆ หรืออาคารสถานที่ที่กฏหมายกำหนดให้ต้องมีระบบการแจ้งเตือนเหตุอัคคีภัย มาติดตั้งไว้ในสถานที่เพื่อให้คนภายในสามารถรับรู้ถึงเหตุการณ์ล่วงหน้าได้ก่อนที่เพลิงไหม้จะลุกลาม และอพยพออกจากอาคารหรือสถานที่ที่เกิดเหตุได้ โดยการติดตั้งระบบอุปกรณ์สัญญาณแจ้งเตือนเหตุอัคคีภัยนี้ จะช่วยให้เจ้าของอาคารสถานที่ต่างๆ ลดการสูญเสียชีวิต ของผู้ที่อาศัยอยู่ภายในอาคาร และสถานที่ และลดการสูญเสียทรัพย์สินต่างๆภายในอาคารสถานที่ได้เป็นอย่างดี 

ระบบที่มีไว้สำหรับแจ้งเตือนเมื่อมีเหตุเพลิงไหม้

ไฟไหม้ โดยจะใช้อุปกรณ์ตรวจจับชนิดต่างๆกันออกไปตามความเหมาะสม เช่น 

 

Smoke Detector(อุปกรณ์ตรวจจับควันไฟ)

          เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ตรวจสอบอนุภาคของควันโดยอัตโนมัติ โดยมาจากการเกิดเพลิงไหม้ จะเกิดควันไฟก่อน จึงทำให้อุปกรณืตรวจจับควันสามารถตรวจการเกิดเพลิงไหม้ได้ ในการเกิดเพลิงไหม้ระยะแรกแต่ก็มีข้อยกเว้นในการเกิดเพลิงไหม้ในบางกรณีที่ไม่สามารถตรวจสอบเพลิงไหม้ได้ เช่น การเกิดเพลิงไหม้จากสารเคมีบางชนิดหรือน้ำมัน

Heat Detector(อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน)

          อุปกรณ์นี้จะใช้หลักตรวจจับอุณหภูมิเหมือนกัน และมีชนิดในการตรวจจับอุณหภูมิที่เหมือนกัน แต่จะมีหลักการทำงานของโลหะสั่งงานภายในตัวอุปกรณ์ ที่แตกต่างกัน ซึ่งแบบ Mechanical Heat Detectors ชนิดของอุปกรณ์โลหะสั่งงานภายในตัวอุปกรณ์ จะคือตัวกลับสู่สภาพเดิมได้ไม่เหมือนเดิม หากทดสอบการทำงาน หรือตรวจจับเหตุเพลิงไหม้ไปแล้ว  ซึ่งอาจจะทำให้ไม่สามารถ ทำงานตรวจจับเพลิงไหม้ได้อีกต่อไป ส่วนในแบบ Electronic Heat Detectors ชนิดอุปกรณฺโลหะสั่งงานถายในตัวอุปกรณ์ สามารถคืนตัวกลับสู่สภาพการใช้งานปกติได้เหมือนเดิม แม่จะทดสอบการทำงานไปแล้ว หรือตรวจจับเหตุเพลิงไหม้ไปแล้ว และสามารถทำงานตรวจจับเพลิงไหม้ได้อีกในครั้งต่อไป โดยไม่ต้องกลัวว่าอุปกรณ์จะเสียหรือพังจากการทำงานหรือการทดสอบ 

Manual Pull Station(เครื่องดึงด้วยมือ)

          อุปกรณ์เริ่มสัญญาณแบบธรรมดา เป็นอุปกรณ์เริ่มสัญญาณด้วยมือผู้ใช้งานของสถานที่ ได้แก่ อุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยมือผู้ใช้ แบบให้มือกด หรือแบบใช้มือดึงคันโยก 

Manual Call Point(อุปกรณ์แจ้งเหตุเพลิงไหม้ด้วยมือ)

          อุปกรณ์เริ่มสัญญาณ เป็นอุปกรณ์เริ่มสัญญาณด้วยมือผู้ใช้งานของสถานที่ ได้แก่ อุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยมือผู้ใช้ แบบให้มือกด หรือแบบใช้มือดึงคันโยก                                                                                                                                          
ส่วนประกอบของระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้

1.ชุดจ่ายไฟ power supply
          เป็นอุปกรณ์แปลงกำลังไฟฟ้า ของแหล่งจ่ายไฟมาเป็นกำลังไฟกระแสตรง ที่ใช้ปฏิบัติงาน ของระบบและจะต้องมีระบบไฟฟ้าสำรอง เพื่อให้ระบบทำงาน ได้ในขณะที่ไฟปกติดับ

2.แผงควบคุม Fire alarm control panel
           เป็นส่วนควบคุมและตรวจสอบการทำงาน ของอุปกรณืและส่วนต่างๆในระบบทั้งหมด จะประกอบไปด้วย วงจรควบคุมคอยรับสัญญาณจากอุปกรณ์เริ่มสัญญาณวงจรทดสอบการทำงาน วงจร ป้องกันการป้องกันระบบวงจร สัญญาณแจ้งการทำงานในสภาวะปกติ และภาวะขัดข้อง เช่นสายไฟจากอุปกรณืตรวจจับขาด แบตเตอรี่ต่ำ หรือไฟจ่ายตู้ควบคุมโดนตัดขาด เป็นต้น ตู้แผงควบคุมจะมีไฟสัญญาณไฟแสงและแสดงสภาวะ ต่างๆบนหน้าตู้เช่น 

- Fire alarm จะติดเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้

- Main Sound Buzzer จะมีเสียงดังขณะแจ้งเหตุ

1.ชุดจ่ายไฟ 

2.แผงควบคุม

3.อุปกรณ์ประกอบ

4.อุปกรณ์เริ่มสัญญาณ

5.อุปกรณ์แจ้งสัญญาณ

- Zone Lamp จะติดค้างแสดงโซนที่เกิด Alarm 

- Trouble Lamp แจ้งเหตุขัดข้อต่างๆ 

- ConTrol Switch สำหรับแจ้งการควบคุบ เช่นการเปิด - ปิด เสียงที่ตู้ และกระดิ่ง ทดสอบการทำงาน งานตู้ ทดสอบ batterry Reset ระบบหลังเหตุการณ์เป็นปกติ 

3.อุปกรณ์เริ่มสัญญาณ

เป็นอุปกรณ์ต้นกำเนิด ของสัญญาณเตือนอัคคีภัย ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ชนิด 

3.1 อุปกรณ์เริ่มสัญญาณจากบุคคล ได้แก่ สถานนีแจ้งสัญญาณเตือนแบบอัคคีภัยแบบใช้มือกด 

3.2 อุปกรณ์เริ่มสัญญาณโดยอัตโนมัติ เป็นอุปกรณ์อัตโนมัติ ที่มีปฏิกริยาไวต่อสภาวะ ตามระยะต่างๆของการเกิดเพลิงไหม้ ได้แก่ อุปกรณ์ตรวจจับควัน อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน อุปกรณ์ตรวจจับเปลวไฟ อุปกรณ์ตรวจจับแก็ส

4.อุปกรณ์แจ้งสัญญาณด้วยเสียง และแสง 

        หลังจากอุปกรณ์เริ่มสัญญาณทำงานโดยส่งสัญญาณมายังตู้ควบคุม แล้ว FCP จึงส่งสัญญาณออกมา โดยผ่านอุปกรณ์ได้แก่ กระดิ่ง ไซเรนไฟสัญญาณ เป็นต้น เพื่อให้ผู้ที่อยู่อาศัย ผู้รับผิดชอบหรือเจ้าหน้าที่ ที่ดับเพลิงได้ทราบว่ามีเหตุเพลิงไหม้เกิดขึ้น 

5.อุปกรณ์ประกอบ 

    เป็นอุปกรณืที่ทำงานเชื่อมโยงกับระบบอื่น ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมป้องกัน และดับเพลิงโดยจะถ่ายทอดสัญยาณระหว่างระบบเตือนอัคคีภัย กับระบบอื่นเช่น 

5.1 ส่งสัญญาณกระตุ้นการทำงานของระบบบังคุบลิฟท์ลงชั้นล่าง การปิดพัดลมในระบบปรับอากาศ เปิดพัดลมระบบระบายอากาศ เปลี่ยนแปลงเพื่อควบคุมควนไฟ การควบคุมเปิดประตูทางออก เปิดประตูหนีไฟ ปิดประตูกันควันไฟ ควบคุมระบบกระจายเสียง และการประกาศแจ้งข่าว เปิดระบบดับเพลิงเป็นต้น 

5.2 รับสัญญาณของระบบอื่นมากระตุ้นการทำงงานของ ระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย เช่นจากระบบพ่นน้ำปั้มดับเพลง ระบบดับเพลิงด้วยสารเคมี ชนิดอัตโนมัติเป็นต้น 


  • ไฟลอะลามมม.png
    Fire Alarm Systemsหรือระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้คือ ระบบที่มีไว้สำหรับแจ้งเตือนเมื่อมีเหตุเพลิงไหม้ ไฟไหม้โดยจะใช้อุปกรณ์ตรวจจับชนิดต่างๆ กันออกไปตามความเหมาะสม เช่...

  • fore alarmm.png
    Fire Alarm Systemsหรือระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้Fire Alarm Systemsคือ ระบบที่มีไว้สำหรับแจ้งเตือนเมื่อมีเหตุเพลิงไหม้ ไฟไหม้ และแจ้งผลให้ผู้อยู่อาศัยในอาคารทราบ โอยอัตโนมัติระบบที่ดีจะต...

  • fireeeee.png
    Fire Alarm Notifierแจ้งเตือน สัญญาณเตือนไฟไหม้ อุปกรณ์ส่งสัญญาณแจ้งเตือน ในระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ จะมีทั้งแบบแจ้งเตือนด้วยสัญญาณเสียง หรือแสงไฟกระพริบ หรือเสียงกับแสงไฟกระพริบ...

  • 11.png
    MORLEY IAS HORIZON HRZ SERIES CONVENTIONAL FIRE ALARM SYSTEMระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ เป็นแบรนด์สินค้า ในเครื่องของ Honeywell ผลิดในประเทศ อังกฤษ ซึ่งจะเป็นแบรนที่มีผู้ติดตั้งและใช้ง...

  • fire alarm.png
    อุปกรณ์ตรวจจับควัน Smoke Detector เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ตรวจสอบอนุภาคของควันโดยอัตโนมัติ โดยมาจากการเกิดเพลงไหม้เกิดควนไฟก่อน จึงทำให้อุปกรณืตรวจจับควันสามารถตรวจการเกิดเพลิ...

  • 2251-COPTIR_Advanced_Multi-Criteri_-Fire_Detector_secutron.png
    เครื่องตรวจจับความร้อนอัจฉริยะ ตั้งค่าการเตือนเมื่ออุณหภูมิแวดล้อมถึงจุดคงที่โดยทั่วไปจะระบุว่าเครื่องตรวจจับความร้อนที่อุณหภูมิคงที่เป็นวิธีแก้ปัญหาที่คุ้มค่าสำหรับการใช้งานด้าน...

  • Untitled-1.jpg
    Heat Detectorsอุปกรณ์นี้จะใช้หลักตรวจจับอุณหภูมิเหมือนกัน และมีชนิดในการตรวจจับอุณหภูมิที่เหมือนกัน แต่จะมีหลักการทำงานของโลหะสั่งงานภายในตัวอุปกรณ์ ที่แตกต่างกัน ซึ่งแบบ Mechanica...

  • 4.png
    ตู้ควบคุมระบบเพลิงไหม้ รุ่น ASENWARE เป็นชุดควบคุมเพลิงไหม้ทั่วไป โดยแผงวงจรนั้น ผลิตและออกแบบมาโดยมาตราฐาน EN54 ระบบตรวจจับอัคคีภัยและสัญญาณเตือนอัคคีภัย EN 54 คือ ระบบตรว...

ผลงานการติดตั้ง Fire alarm

UL 

ทำหน้าที่ประเมินผลิตภัณฑ์ ชิ้นส่วน อุปกรณ์ และระบบเพื่อให้เป็นไปตามระเบียบเฉพาะตามข้อกำหนด

โดยใช้การตรวจสอบมาตรฐานเพื่อผลักดันการควบคุมความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ในระดับรัฐบาล สหพันธรัฐ รัฐและการริเริ่มมาตรฐานความปลอดภัยในรัฐบาลท้องถิ่น

ในปัจจุบัน UL ยังให้ความช่วยเหลือแก่องค์กร บริษัทต่างๆ ในการนำผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานเข้าสู่ตลาดโลก

โดยสนับสนุนการบริหารจัดการ และดูแลคุณภาพของระบบในทุกขั้นตอนเป็นการรับรองมาตรฐานในระดับสากล

การรับรองมาตรฐานความปลอดภัยของ UL

ประกอบด้วย

-การตรวจสอบ

-การประเมินและการตรวจสอบโรงงานในระดับประเทศ ภูมิภาค และความปลอดภัยในระดับสากล

โดยการรับรองมาตรฐานนี้จะช่วยให้ความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์ได้รับความเชื่อมั่นในระดับสาธารณะ ทั้งผู้บริโภค ผู้ขายปลีก บริษัทประกันภัย ผู้จัดจำหน่าย

ให้เป็นที่จดจำและคุ้นเคยกับสัญลักษณ์ UL เสมือนสัญลักษณ์แห่งการไว้วางใจในความปลอดภัยนั้นเอง

ISO 9001

          เป็นระบบบริหารงานคุณภาพตามมาตรฐานสากล แนวคิดสำคัญของ ISO 9001 คือการจัดวางระบบบริหารงานเพื่อการประกันคุณภาพ ซึ่งเป็นระบบที่ทำให้เชื่อมั่นได้ว่ากระบวนการต่างๆ ได้รับการควบคุมและสามารถตรวจสอบได้ โดยผ่านระบบที่ระบุขั้นตอนและวิธีการทำงาน

          เพื่อให้มั่นใจว่าบุคลากรในองค์กรรู้หน้าที่ความรับผิดชอบและขั้นตอนต่างๆ ในการปฏิบัติงาน โดยต้องมีการฝึกอบรมให้ความรู้และทักษะในการปฏิบัติงาน มีการจดบันทึกข้อมูล รวมทั้งการตรวจสอบการปฏิบัติงานว่าเป็นไปตามที่ระบุไว้ในระบบหรือไม่ และมีการแก้ไขข้อผิดพลาดรวมทั้งมีแนวทางในการป้องกันข้อผิดพลาดเดิม

          ในปัจจุบันมาตรฐาน ISO 9001:2015 มีการเพิ่มข้อกำหนดในเรื่องการทำความเข้าใจกับองค์กรและบริบทองค์กร การทำความเข้าใจกับความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อใช้สำหรับการดำเนินการกับความเสี่ยงและโอกาสรวมถึงข้อกำหนดอื่นๆ ซึ่งเป็นพื้นฐานหนึ่งที่จะช่วยให้องค์กรสามารถมุ่งสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนได้ต่อไป

          ส่วนสําคัญที่สุดในการใช้งานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire Alarm Systems) ก็คือการปารุงรักษาระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Preventive Maintenance Fire Alarm System) เพราะจะทำให้การทำงานของระบบทั้งหมดนั้นมีความพร้อมในการตรวจจับและสามารถทำการแจ้งเตือนได้อย่างมีประสิทธิภาพเพราะอุปกรณ์ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ต่างๆเป็นอุปกรณ์อิเล็คโทรนิคส์ที่มีขีดจํากัดในการทำงานตามสภาวะแวดล้อมและสามารถเสื่อมสภาพได้ตามกาลเวลากับสิ่งที่ทำให้อุปกรณ์เกิดปัญหาต่างๆได้เช่นการติดตั้งที่ไม่ได้มาตรฐานกับสายหลุดจากจุดเชื่อมต่อกับสายซ่ารุต-ขาดกับเกิดการลัดวงจรกับการวน์ผิดปกติกับติดตั้งอุปกรณ์ไว้ในจุดที่อุณหภูมิต่างๆมากเกินกว่าที่ตัวอุปกรณ์จะรองรับได้และปัญหาจากฝุ่นกับแมลงต่างๆไปทำให้ระบบอุปกรณ์ทำงานผิดพลาดหรืออาจเสียได้ด้วยปัญหาต่างๆของระบบอุปกรณ์แจ้งเหตุเพลิงไหม้ดังกล่าวนี้ทำให้จำเป็นต้องมีการปารุงรักษาระบบอย่างสม่ำเสมอและควรทำอย่างต่อเนื่องจงอย่าคาดหวังกับระบบที่ไม่มีการปารุงรักษาและขาดการดูแลจากผู้ใช้งานถึงแม้จะมีเจ้าหน้าที่เฝ้าไว้อยู่ตลาดเวลาคงจะทำอะไรได้ไม่ทันถ้าไม่ทราบเหตุเพลิงไหม้และตำแหน่งจุดเกิดเหตุอย่างรวดเร็ว

มาตรฐานการตรวจสอบกับทดสอบและปารุงรักษาระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้

 1. มักจะจัดเป็นรายสัปดาห์รายครึ่งปีและรายปี

1.1. รายสัปดาห์มักจะเป็นการตรวจสอบด้วยสายตาเช่นความเรียบร้อยโดยทั่วไปของระบบอุปกรณ์ยังมีอยู่ครบถ้วนหรือไม่กับป้ายเตือนต่างๆอยู่ในสภาพและตำแหน่งที่สังเกตุได้ชัดเจนเหมือนเดิมหรือไม่กับวาล์วควบคุมระบบต่างๆยังอยู่ในตำแหน่งปกติหรือไม่และเกจ์วัดความดันของระบบต่างๆขี้ความดันที่เหมาะสมหรือไม่อาจจะมีการทดสอบบ้างเช่นกตปุ่ม Lamp Test ที่บนตู้ควบคุมระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire Alarm Control Panel) เพื่อตรวจสอบหลอดไฟสัญญาณของตู้ควบคุมและเสียงแจ้งเตือน (Buzzer) เวลารับสัญญาณแจ้งเหตุซึ่งแทบจะไม่ได้ใช้งานเลยว่ายังทำงานได้ตามปกติหรือไม่และการติดเครื่องสูบน้ำดับเพลิงที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ดีเซลชั่วขณะ (Fire Pump) มักจะทำนานพอที่จะให้อุณหภูมิของน้ำหล่อเย็นสูงขึ้นถึงจุดใช้งานปกติของเครื่องยนต์นั้น ๆ และเกิดการไหลเวียนของน้ำหล่อเย็นส่วนใหญ่จะให้ช่างประจำสถานที่นั้นเป็นผู้จัดทำพร้อมทำรายงานเก็บไว้เป็นรายสัปดาห์

1.2 รายครึ่งปีหรือเรียกอีกอย่างว่าสองครั้งต่อปีมักจะเป็นการทดสอบอุปกรณ์ตรวจจับ zu Smoke Detector, Heat Detector, Beam Smoke Detector, Flame Detector และ Manual Station โดยกระตุ้นให้อุปกรณ์ทำงานและส่งสัญญาณไปที่ตู้ควบคุม (Fire Alarm Control Panel) โดยก่อนทดสอบจะต้องเซ็ตให้ตู้ควบคุมทำงานอยู่ในรูปแบบของการทดสอบอุปกรณ์ (Test Mode) ก่อนคือแม้จะมีสัญญาณเข้ามา แต่จะไม่นำสัญญาณนั้นมาสรุปผลว่าเป็นเพลิงไหม้ แต่จะรับทราบว่าเป็นผลจากการทดสอบการทดสอบรายครึ่งปีนี้จะรวมไปถึงการทำความสะอาดอุปกรณ์เช่นถอดตัวอุปกรณ์ (Detector) ต่างๆออกจากจุดแล้วน่ามาเปาด้วยลมเพื่อไล่ฝุ่นออกจากตัวอุปกรณ์กับเช็ดทำความสะอาดกับการทำความสะอาดเลนส์ของ Beam Smoke Detectro และ Flame Detector และตรวจดูสภาพความพร้อมของอุปกรณ์ Manual Station กับเช็ดทำความสะอาดเมื่อถอดเอา Smoke หรือ Heat Detector ออกจากจุดก็ให้ถือโอกาสทดสอบการเช็ควงจร (Supervisory Circuit) ของที่ตู้ควบคุมไปด้วยคือเมื่อได้ถอดเอา Smoke หรือ Heat Detector ออกมาแล้วจะต้องมีสัญญาณแจ้งปัญหา (Trouble)ไปที่ผู้ควบคุมด้วยแสดงว่าผู้ควบคุมสามารถตรวจสอบได้ว่าเกิดปัญหากับอุปกรณ์หรือมีอุปกรณ์ถูกถอดออกไปสำหรับอุปกรณ์ตรวจจับเปลวไฟ (Flame Detector) อาจตัดไฟเลี้ยงที่ตัวอุปกรณ์เพื่อตรวจสอบการตอบสนองของผู้ควบคุมส่วนอุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยมือผู้ใช้ (Manual Station) ให้ทดสอบโดยการดึงหรือกดหรือไขกุญแจทดสอบเพื่อตรวจสอบการตอบสนองของผู้ควบคุมในลักษณะเดียวกันหลังจากที่ทดสอบการเช็ควงจร (Supervisory Circuit) กับทำความสะอาดจึงต่อด้วยการทดสอบสัญญาณส่วนใหญ่จะให้ บริษัท ที่รับปารุงรักษาระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้เป็นผู้ทำให้

1.3 รายปีหรือทดสอบใหญ่หนึ่งครั้งต่อปีจะเป็นการทดสอบอุปกรณ์ตรวจจับที่มีทั้งหมด Smoke Detector Heat Detector Beam Smoke Detector Flame Detector และ Manual Station โดยกระตุ้นให้อุปกรณ์ทำางานและส่งสัญญาณไปที่ผู้ควบคุม (Fire Alarm Control Panel) โดยก่อนทลสอบจะต้องเช็ดให้ผู้ควบคุมทำางานอยู่ในรูปแบบของการทดสอบอุปกรณ์ (Test Mode) คอนคือแม่จะมีสัญญาณเข้ามา แต่จะไม่น่าสัญญาณนั้นมาสรุปผลว่าเป็นเพลงโหม แต่จะรับทราบว่าเป็นผลจากการทดสอบการทดสอบรายครึ่งปีนี้จะรวมไปถึงการทำความสะอาดอุปกรณ์เช่นถอดตัวอุปกรณ์ (Detector) ต่างๆออกจากจุดแล้วน่ามาเป่าด้วยลมเพื่อไล่ฝุ่นออกจากตัวอุปกรณ์กับเช็ดทำความสะอาดกับการทำความสะอาดเลนส์ของ Beam Smoke Detectro และ Flame Detector และตรวจดูสภาพความพร้อมของอุปกรณ์ Manual Station กับเช็ดทำความสะอาดเมื่อถอดเอา Smoke หรือ Heat Detector ออกจากจุดก็ให้ถือโอกาสทดสอบการเชิดวงจร (Supervisory Circuit) ของที่ตู้ควบคุมไปด้วยคือเมื่อได้ถอดเอา Smoke หรือ Heat Detector ออกมาแล้วจะต้องมีสัญญาณแจ้งปัญหา (Trouble) ไปที่ตู้ควบคุมด้วยแสดงว่าผู้ควบคุมสามารถตรวจสอบได้ว่าเกิดปัญหากับอุปกรณ์หรือมีอุปกรณ์ถูกถอดออกไปสำหรับอุปกรณ์ตรวจจับเปลวไฟ (Flame Detector) อาจตัดไฟเลี้ยงที่ตัวอุปกรณ์เพื่อตรวจสอบการตอบสนองของผู้ควบคุมส่วนอุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยมือผู้ใช้ (Manual Station) ให้ทดสอบโดยการดึง หรือ กดหรือไขกุญแจทดสอบเพื่อตรวจสอบการตอบสนองของผู้ควบคุมในลักษณะเดียวกันหลังจากที่ทดสอบการเขี้ยวงจร (Supervisory Circuit) กับทำความสะอาดจึงต่อด้วยการทดสอบสัญญาณการทดสอบในรายปีนี้จะต้องมีการเตรียมการที่รัดกุม เช่น แจ้งกับผู้อยู่ในอาคารทราบว่าจะมีสัญญาณเตือนภัยหรืออาจจะให้ทดสอบระบบนี้ไปพร้อม ๆ กับการฝึกซ้อมรายปีส่วนใหญ่จะให้ บริษัท ที่รับปารุงรักษาระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้เป็นผู้ทำให้

การทดสอบในรายคาบนี้ไม่จำเป็นจะต้องทดสอบอุปกรณ์ให้หมดทุกชิ้นในคราวเดียว แต่อาจจะแบ่งระบบออกเป็นส่วน ๆ เพื่อทดสอบเป็นคาบย่อย ๆ ได้เช่นทดสอบพวก Smoke Detector กับ Heat Detector กับ Beam Smoke Detector กับ Flame Detector และ Manual Station ทุกๆเดือนโดยท่าเดือนละ 1 ใน 6 ของจํานวน Detector ทั้งหมดก็จะทำให้ Detector ทุกตัวผ่านการทดสอบปีละสองครั้งตามกำหนดการจัดแบ่งออกเป็นดาบย่อย ๆ ทำให้สะดวกต่อการจัดการมากกว่าด้วยการปารุงรักษาที่เหมาะสมจะช่วยให้ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้หรือระบบป้องกันอัคคีภัยคงสมรรถนะตามที่ออกแบบไว้ทำให้แน่ใจได้ว่าระบบมีความไว้วางใจได้ตามปกติและจะทำให้ลดโอกาสของการทำงานที่ผิดพลาด





Home
Home

ทำการทดสอบการทำงานของอุปกรณ์ (Divice) ตามฟังก์ชัน (Function) การทำงาน

-การทดสอบอุปกรณ์ตรวจจับควัน (Smoke Detector) ชนิดต่างๆจะทดสอบโดยการใช้อุปกรณ์ทดสอบตัวตรวจจับควัน (Smoke Detector Tester) เช่นสเปรย์ควันเทียม

-การทดสอบอุปกรณ์ตรวจจับความร้อน (Heat Detector) ชนิดตรวจจับอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นเกินกว่าที่กำหนดไว้ (Rate of Rise) ทดสอบโดยการใช้อุปกรณ์เป่าลมร้อน

-การทดสอบอุปกรณ์ตรวจจับความร้อน (Heat Detector) ชนิดตรวจจับอุณหภูมิคงที่สูงมากกว่าที่กำหนดไว้ (Fixed Temperature) ทดสอบโดยการวัดค่าที่สายไฟเข้าตัวอุปกรณ์ว่าปกติหรือไม่

-การทดสอบอุปกรณ์ตรวจจับความร้อน (Heat Detector) ทั้งชนิดตรวจจับอุณหภูมิคงที่และตรวจจับอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นเกินกว่าที่กำหนด (Rate of Rise / Fixed Temperature) ทดสอบโดยการวัดค่าที่สายไฟเข้าตัวอุปกรณ์ว่าปกติหรือไม่กับใช้อุปกรณ์เป่าลมร้อน

-การทดสอบอุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยมือผู้ใช้ (Manual Station) ทดสอบโดยการใช้งานจริงเช่นดึงคันโยกลง (Pull Down) หรือกดปุ่ม (Push Button) หรือแบบทุบกระจกให้แตก (Breakglass)

-ทดสอบสัญญาณการแจ้งเตือนปัญหา (Trouble) ทดสอบโดยการทำให้เกิดปัญหาเช่นปลดสายโซนอุปกรณ์ตรวจจับ (Zone Detector) ออกจากบนบอร์ดแผงวงจรที่ตู้ควบคุมหรือถอดออกจากอุปกรณ์โมดูลที่ควบคุม (Module) หรือให้ถอดอุปกรณ์ตรวจจับส่วนหัว (Head Detector) ออกจากฐานอุปกรณ์ (Detector Base) หรือถอดอุปกรณ์ต่างๆออกจากระบบแล้วรอดูผลการแจ้งปัญหาว่าตรงตามที่ได้ทำให้เกิดปัญหาไปหรือไม่

-ทดสอบสัญญาณแจ้งเตือน (Alarm) ที่เกิดจากอุปกรณ์ตรวจจับ (Detector) ต่างๆและอุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยเมื่อผู้ใช้ (Manual Station) ตามฟังก์ชั่น (Function) การแจ้งเตือนแบบต่างๆที่ได้กำหนดไว้ 

1. ต้องเป็นอุปกรณ์ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้แบรนด์ที่ทาง บริษัท ฯ รับให้การบริการปารุงรักษาระบบเท่านั้นคือ Notifier หรือ System Sensor กับ GE หรือ Edwards (เดิม) หรือ BOSCH

2. ผู้ที่ต้องการใช้บริการปารุงรักษาระบบแจ้งเหตุเพลิงไหมต้องแจ้งข้อมูลระบบอุปกรณ์ที่ใช้งานอยู่ให้ทาง บริษัท ฯ ทราบก่อนเพื่อนำาเสนอราคาให้ดังนี้

2.1 แบรนด์กับรุ่นและจำนวนโซนของตู้ควบคุมระบบ (Fire Alarm Control Panel) ที่มีใช้งานอยู่ปัจจุบัน

2.2 แบรนด์กับรุ่นและจำนวนทั้งหมดของอุปกรณ์ตรวจจับควัน (Smoke Detector) ที่มีใช้งานอยู่ปัจจุบัน

2.3 แบรนด์กับรุ่นและจำนวนทั้งหมดของอุปกรณ์ตรวจจับควันด้วยล่าแสงบีม (Beam Smoke Detector) ที่มีใช้งานอยู่ปัจจุบัน

2.4 แบรนด์กับรุ่นและจำนวนทั้งหมดของอุปกรณ์ตรวจจับความร้อน (Heat Detector) ที่มีใช้งานอยู่ปัจจุบัน

2.5 แบรนด์กับรุนและจำนวนทั้งหมดของอุปกรณ์ตรวจจับเปลวไฟ (Flame Detector) ที่มีใช้งานอยู่ปัจจุบัน

2.6 แบรนด์กับรุ่นและจำนวนทั้งหมดของอุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยมือ (Manual Station) ที่มีใช้งานอยู่ปัจจุบัน

2.7 แบรนด์กับรุ่นและจำนวนทั้งหมดของอุปกรณ์แจ้งสัญญาณเตือน (Audible Alarm Devices) ที่มีใช้งานอยู่ เช่น Bell ,Horn-Strobe หรือ Speaker

2.8 การเดินสายนำสัญญาณของระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ที่มีใช้งานอยู่ปัจจุบันเช่น-เดินสายปาสัญญาณระบบอุปกรณ์ไว้แบบ 2 สาย (Two-Wire) Class-B-เดินสายนำสัญญาณระบบอุปกรณ์ไว้แบบ 4 สาย (Four-Wire) Class-A

2.9 แบบการวางระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Riser Diagram Fire Alarm System) ล่าสุดที่ใช้งานอยู่ปัจจุบัน

3. ต้องการใช้บริการบำรุงรักษาระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้แบบใด

3.1. รายครึ่งปีหรือ 2 ครั้งต่อปีจะให้บริการปารุงรักษาระบบ 6 เดือนต่อ 1 ครั้งรวม 2 ครั้งในการให้บริการ 1 ปี

3.2 รายปีหรือ 1 ครั้งต่อปีจะให้บริการปารุงรักษาระบบเพียง 1 ครั้งภายใน 1 ปี